ท่าวังตาลน่าอยู่ มุ่งเน้นธรรมาภิบาล บริการอย่างมีคุณภาพ *** อุบัติเหตุ - ฉุกเฉิน  091 009 9977 (งานการแพทย์ฉุกเฉิน) / 094 216 1515 ,053-141775 (งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย) /ร้องเรียนทั่วไป 053-140981-2 ต่อ 100 / ผุ้ป่วยฉุกเฉิน - กู้ชีพ (นครพิงค์) 1669 / ตำรวจ - ฉุกเฉิน 191 / ดับเพลิง -กู้ภัย 199 ***

ที่อยู่เทศบาลตำบลท่าวังตาล

149/1 หมู่ 2 ตำบลท่าวังตาล อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ 50140

โทรศัพท์ 053-140-981-2

งานป้องกันฯ 053 141 775

อีเมล์ saraban-thawangtan@lgo.mail.go.th

President

นางวิมลรัก ตนซื่อ

นายกเทศมนตรี
ตำบลท่าวังตาล

สายด่วน 091-0685389

President

นายภาคภูมิ เชื้อสาวะถี

ปลัดเทศบาล
ตำบลท่าวังตาล

091-065-0515

สายด่วนนายก 093-130-3409

ช่องทางการตอบแบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก (EIT)

ช่องทางการตอบแบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน (IIT)

แบบประเมินความพึงพอใจต่อผลการดำเนินงานของเทศบาลตำบลท่าวังตาล

หน้าแรก » แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่น และ สินค้า OTop » 6: : ภูมิปัญญาท้องถิ่น อุตสาหกรรมและหัตถกรรม : :

6: : ภูมิปัญญาท้องถิ่น อุตสาหกรรมและหัตถกรรม : :

6: : ภูมิปัญญาท้องถิ่น อุตสาหกรรมและหัตถกรรม : :

  • gallery

ภูมิปัญญาท้องถิ่น สาขาอุตสาหกรรมและหัตถกรรม

          นางอุไร อินต๊ะ หมู่ 11 ตำบลท่าวังตาล อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่

  1.png (840 KB)

การทำตะกร้าจากเส้นพลาสติก

 

ความสำคัญและความเป็นมา

         การสานตะกร้าพลาสติก เกิดจากภูมิปัญญาที่มีการถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่นในลักษณะของการทำเครื่อง    จักสานลักษณะต่างๆ ซึ่งแต่เดิมได้นำวัตถุดิบจากธรรมชาติเท่าที่จะหาได้ใกล้ตัวมาทำให้เกิดประโยชน์ เช่น ไม้ไผ่ หวาย เป็นต้น ซึ่งสามารถหาได้ในพื้นที่แถบนี้มาสานเป็นสิ่งของเครื่องใช้สำหรับใช้สอยในชีวิตประจำวัน     ต่อมาชาวบ้านได้มีการนำเส้นพลาสติกที่มีสีสันสดใส มาใช้ทำเครื่องจักสานตะกร้าพลาสติกเนื่องจากประชาชนส่วนใหญ่ ในพื้นที่มีความรู้เรื่องจักสานอยู่แล้วเพียงแต่ปรับเปลี่ยนวัสดุการสานมาเป็นเส้นพลาสติกเพื่อให้เกิด

ความทนทาน และสามารถออกแบบเครื่องจักรสานได้หลากหลายกว่า และหากชาวบ้านคนใดจะยึดเป็น อาชีพเสริมก็สามารถทำได้และจะเป็นการอนุรักษ์ศิลปะการจักสานของคนรุ่นหลังได้สืบทอดต่อไป

ประโยชน์ของการสานตะกร้าพลาสติก

         ประโยชน์ของการสานตะกร้าพลาสติกนั้นนอกจากจะได้นำมาใช้ประโยชน์แล้วยังเป็นการส่งเสริมและถ่ายถอดภูมิปัญญาชาวบ้านให้คงอยู่ต่อไปถึงคนรุ่นหลังและต่อยอดไปสู่การสร้างอาชีพและรายได้ให้แก่คนในพื้นที่ด้วย

 2.jpg (97 KB)  3.jpg (538 KB)

ลิงค์ภายนอก