ท่าวังตาลน่าอยู่ มุ่งเน้นธรรมาภิบาล บริการอย่างมีคุณภาพ *** อุบัติเหตุ - ฉุกเฉิน  091 009 9977 (งานการแพทย์ฉุกเฉิน) / 094 216 1515 ,053-141775 (งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย) /ร้องเรียนทั่วไป 053-140981-2 ต่อ 100 / ผุ้ป่วยฉุกเฉิน - กู้ชีพ (นครพิงค์) 1669 / ตำรวจ - ฉุกเฉิน 191 / ดับเพลิง -กู้ภัย 199 ***

ที่อยู่เทศบาลตำบลท่าวังตาล

149/1 หมู่ 2 ตำบลท่าวังตาล อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ 50140

โทรศัพท์ 053-140-981-2

งานป้องกันฯ 053 141 775

อีเมล์ saraban-thawangtan@lgo.mail.go.th

President

นางวิมลรัก ตนซื่อ

นายกเทศมนตรี
ตำบลท่าวังตาล

สายด่วน 091-0685389

President

นายภาคภูมิ เชื้อสาวะถี

ปลัดเทศบาล
ตำบลท่าวังตาล

091-065-0515

สายด่วนนายก 093-130-3409

ช่องทางการตอบแบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก (EIT)

ช่องทางการตอบแบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน (IIT)

แบบประเมินความพึงพอใจต่อผลการดำเนินงานของเทศบาลตำบลท่าวังตาล

หน้าแรก » ข่าวกิจกรรม » ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวกับอาหารและผักพื้นบ้าน

ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวกับอาหารและผักพื้นบ้าน

ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวกับอาหารและผักพื้นบ้าน

ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวกับอาหารและผักพื้นบ้าน

  • การทำน้ำพริกตาแดง อาหารท้องถิ่นภาคเหนือ

วิทยากร โดย นางบัวเรียว  แก้วดวง  หมู่ 11 ตำบลท่าวังตาล อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่

การทำน้ำพริกตาแดง 

น้ำพริกตาแดง เป็นอาหารที่มีคุณค่าทางอาหาร มีโปรตีน แคลเซียม น้ำพริกตาแดงเกิดขึ้นในสมัยล้านนาสมัยนั้นคงเรียกอาหารชนิดนี้ว่า “พริกเกลือ” ต่อมาได้รู้จัก ดัดแปลงส่วนต่างๆ นําเข้าไปผสม        เช่น พริก กระเทียม กะปิ ปลาย่าง และดัดแปลงมาเรื่อยๆ จนกระทั่งมี น้ำพริกเกิดขึ้นหลายชนิดด้วยกัน น้ำพริก ตาแดงได้รับการสืบทอดมาจากบรรพบุรุษ จึงเป็นแรงจูงใจให้ทํา น้ำพริกตาแดงชาวบ้านแถบภาคเหนือนิยมรับประทานทั้งเป็นอาหารหลักและอาหารเสริมในการรับ ประทาน อาหารแต่ละมื้อ ถือเป็นวิถีชีวิตในการกินของคนภาคเหนือเลยก็ว่าได้ ทุกมื้อบนโต๊ะอาหาร หรือบน ขันโตก (สํารับอาหาร) ประจําวัน   ต้องมีน้ำพริกประกอบด้วยทุกครั้ง ทั้งน้ำพริกหนุ่ม ที่ทําจากพริกสดซึ่งจะมีทั้ง น้ำพริกปลาร้า น้ำพริกปลาทู และน้ำพริกตาแดงที่ทําจากพริกแห้ง สามารถนําไปรับประทานกับผักสด หรือ ผักลวกจิ้ม พระอมข้าวเหนียวหรือข้าวสวยก็อร่อย   มาระยะหลังที่มีการปรับเปลี่ยนจากการใส่ปลาร้าไปเป็น อย่างอื่นเพื่อขยาย จํานวนผู้บริโภคที่ไม่ชอบปลาร้า  อาจเปลี่ยนเป็นปลาแห้ง กุ้ง หรือปู เป็นต้น

 

Screen Shot 2564-07-23 at 17.11.14.png (269 KB)

Screen Shot 2564-07-23 at 17.11.23.png (318 KB)  Screen Shot 2564-07-23 at 17.11.32.png (342 KB)

ลิงค์ภายนอก